ฮีตสิบสอง
ฮีตสิบสอง มาจากคำสองคำ คือ ฮีต และ สิบสอง ฮีต มาจากคำว่า จารีต ซึ่งหมายถึง ความประพฤติ ธรรมเนียม ประเพณี ความประพฤติที่ดี และ สิบสอง มาจาคำว่า สิบสองเดือน ดังนั้นคำว่า ฮีตสิบสอง หมายถึงประเพณีที่ประชาชนในภาคอีสานปฏิบัติกันมาในโอกาสต่าง ๆ ทั้งสิบสองเดือนของแต่ละปี
ฮีตแต่ละอย่างกำหนดให้ปฏิบัติในแต่ละเดือนครบทั้ง 12 เดือน เดือนใดมีจารีตประเพณีอะไรประจำเดือน นักปราชญ์โบราณได้วางฮีต 12 ไว้ ดังนี้
* เดือนอ้าย หรือ เดือน 1 - บุญเข้ากรรม
* เดือนยี่ หรือ เดือน 2 - บุญคูณลาน
* เดือนสาม - บุญข้าวจี่
* เดือนสี่ - บุญผะเหวด
* เดือนห้า - บุญสงกรานต์
* เดือนหก - บุญบั้งไฟ
* เดือนเจ็ด - บุญซำฮะ (ชำระ)
* เดือนแปด - บุญเข้าพรรษา
* เดือนเก้า - บุญข้าวประดับดิน
* เดือนสิบ - บุญข้าวสาก
* เดือนสิบเอ็ด - บุญออกพรรษา
* เดือนสิบสอง - บุญกฐิน
ฮีตแต่ละอย่างกำหนดให้ปฏิบัติในแต่ละเดือนครบทั้ง 12 เดือน เดือนใดมีจารีตประเพณีอะไรประจำเดือน นักปราชญ์โบราณได้วางฮีต 12 ไว้ ดังนี้
* เดือนอ้าย หรือ เดือน 1 - บุญเข้ากรรม
* เดือนยี่ หรือ เดือน 2 - บุญคูณลาน
* เดือนสาม - บุญข้าวจี่
* เดือนสี่ - บุญผะเหวด
* เดือนห้า - บุญสงกรานต์
* เดือนหก - บุญบั้งไฟ
* เดือนเจ็ด - บุญซำฮะ (ชำระ)
* เดือนแปด - บุญเข้าพรรษา
* เดือนเก้า - บุญข้าวประดับดิน
* เดือนสิบ - บุญข้าวสาก
* เดือนสิบเอ็ด - บุญออกพรรษา
* เดือนสิบสอง - บุญกฐิน
ขอขอบคุณข้อมูลจาก :
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น